วันพฤหัสบดีที่ 25 เมษายน พ.ศ.2567

บทความ

28 เม.ย. 2563

          Melayu Route เปิดเส้นทางใหม่ด้วยหัวใจมลายู คือหนังสือการ์ตูนที่เรียกได้ว่าเป็นผลงานการ์ตูนสไตล์มังงะเล่มแรกของประเทศไทยที่ว่าด้วยเรื่องวัฒนธรรมมลายูในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึ่งเป็นผลงานจากการถอดบทเรียนประสบการณ์ในการทำงานคลุกคลีในพื้นที่ชายแดนใต้ตลอดหลายปีของผู้เขียน จิรศักดิ์ อุดหนุน และ กิตติคุณ กิตติอมรกุล สมาชิกฝ่ายผลิตสื่อของสถาบันรามจิตติ ที่ใช้ทักษะการวาดการ์ตูนทำให้เรื่องราวของ ‘ราก’ และ ‘ลาย’ ที่ว่าด้วยวัฒนธรรมมล...

..อ่านต่อ
28 เม.ย. 2563

กลองบานอจิ๋ว พลิกคุณภาพชีวิตเยาวชนบ้านบาโงมาแย Photo Credit: BANGYOU PHOTOGRAPHER           การแสดงกลองบานอ เป็นศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านที่ทรงคุณค่าของจังหวัดชายแดนภาคใต้ เป็นการละเล่นที่นิยมกันมากแถบหมู่บ้านชนบท เพื่อประโคมเสียงให้ชาวบ้านในละแวกใกล้เคียงได้ยิน ได้รับรู้ถึงกิจกรรมในหมู่บ้านนั้น ๆ เป็นการตีกลองร้องป่าวให้ทุกคนรับรู้ และมาร่วมงาน นิยมเล่นในงานพิธีต่าง ๆ ของหมู่บ้าน เช่น พิธีเข้าสุนัต พิธีแต่งงาน เป็นต้น โดยปกติบานอไม่ใช้เล่นเพื่อการแข่งขัน แต่ใช...

..อ่านต่อ
28 เม.ย. 2563

          สถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนใต้ที่ดำเนินมาอย่างต่อเนื่องเข้าสู่ปีที่ 12 ได้ส่งผลกระทบอย่างมากต่อวิถีชีวิตของคนในพื้นที่ กลุ่มที่ได้รับผลกระทบรุนแรงที่สุดคือผู้หญิง และเด็ก ผู้หญิงกว่า 2,800 คนต้องสูญเสียสามี และกลายเป็นหม้าย ในขณะที่เด็กอีกกว่า 8,000 คน ต้องกลายเป็นกำพร้า ผู้หญิงเหล่านี้ต้องพลิกบทบาทตัวเองจากแม่บ้านขึ้นมาเป็นผู้นำทางเศรษฐกิจที่ต้องหารายได้มาเลี้ยงดูสมาชิกในครอบครัว และต้องแบกภาระหน้าที่มากขึ้นกว่าแต่ก่อน และยังขาดแคลนทั้งทุ...

..อ่านต่อ
17 ก.พ. 2563

      ในขณะที่ราคาน้ำมัน และก๊าซธรรมชาติพุ่งสูงขึ้นกว่าเท่าตัว พลังงานทางเลือกจึง เป็นทางเลือกหนึ่งที่เราควรหันมาสนใจ ปัจจุบันนี้ เชื้อเพลิงชีวมวลจากพืช เป็นที่ต้องการของตลาดโลกเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะ เชื้อเพลิงชีวมวลอัดเม็ด ได้เข้ามามีบทบาทสำคัญ ใช้ในการผลิตไฟฟ้า สำหรับโรงไฟฟ้า หรือโรงงานอุตสาหกรรมต่าง ๆ ซึ่งมีข้อดีคือให้ความร้อนสูงกว่าชีวมวลอย่างอื่น ขนส่งได้สะดวกเนื่องจากมีความหนาแน่นมาก มีเถ้าน้อย รวมทั้งส่งผลเสียต่อสิ่งแวดล้อมน้อยมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เม็ดเชื้อเพลิงชีวมวลที่ผลิ...

..อ่านต่อ
17 ก.พ. 2563

      เหตุการณ์ความไม่สงบในสามจังหวัดชายแดนใต้ได้ก่อตัวอย่างรุนแรงขึ้นในปี พ.ศ. 2547  นับตั้งแต่นั้นมาเป็นเวลา 15 ปี พื้นที่แห่งนี้ยังตกอยู่ในสถานการณ์เช่นนี้ และยังคงต้องการเวลาในการหาหนทางที่นำไปสู่ความสงบ เด็กจำนวนมากที่เติบโตมาพร้อมกับสถานการณ์เช่นนี้ พวกเขามองเห็นสิ่งเหล่านี้เป็นส่วนหนึ่งในชีวิต เพราะพวกเขาต้องใช้ชีวิตเพื่อมีชีวิต พวกเขาได้ปรับตัว และพยายามมองหาสิ่งใหม่ ๆ เพื่อเติมเต็มในสิ่งที่รับรู้จากโลกภายนอก พวกเขามองข้ามสถานการณ์ไม่สงบไปสู่ความหวังของชีวิตอนาคต...

..อ่านต่อ
17 ก.พ. 2563

      โครงการ “อุตสาหกรรม เพื่อการสร้างงานที่ยั่งยืน ในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้” หรือ Hand in Hand โดยกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ซึ่งเป็นหน่วยงานที่มีภารกิจคือ การสร้าง และส่งเสริมให้เกิดความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ และกระจายความเจริญไปสู่ท้องที่ต่าง ๆ ด้วยการสนับสนุนให้เกิดอุตสาหกรรมขนาดกลาง หรือวิสาหกิจชุมชนขึ้น โดยกำหนดพื้นที่เป้าหมาย 3 ชุมชน ได้แก่ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส อำเภอรามัน จังหวัดยะลา และอำเภอโคกโพ...

..อ่านต่อ
17 ก.พ. 2563

      ทานพื้นบ้าน เป็นมรดกวัฒนธรรมอย่างหนึ่ง อาศัยการเล่าด้วยปาก เรียกว่า มุขปาฐะ ให้ความรู้ ความเพลิดเพลิน คุณธรรม สร้างสรรค์จินตนาการ และสะท้อนภาพวิถีชีวิตชาวบ้านในอดีตได้อย่างน่าสนใจ ในจังหวัดชายแดนใต้มีนิทานพื้นถิ่น หรือ folklore อยู่มากมาย นิทานส่วนใหญ่สะท้อนภาพวิถีชีวิตชาวบ้านไทยมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้ รองลงมาเป็นวิถีชีวิตของชาวไทยพุทธและชาวไทยเชื้อสายจีน ลักษณะสำคัญของนิทานคือ เล่าด้วยถ้อยคำธรรมดาเป็นภาษาร้อยแก้ว เล่ากันด้วยปากสืบทอดกันมา และไม่ปรากฏว่าผู้เล่าเป็นใคร นิ...

..อ่านต่อ
17 ก.พ. 2563

      มารีมาย เป็นคำภาษามลายู แปลว่า มาเล่นกันเถอะ “มารีมาย มาเล่นกันเถอะ” เป็นรายการโทรทัศน์สำหรับเด็ก เริ่มออกอากาศในเดือนตุลาคม พุทธศักราช 2562 จนถึงปัจจุบัน ทางสถานีไทยพีบีเอส ทุกวันเสาร์ เวลา 07.40 - 08.00 น. นำเสนอเรื่องราวของการละเล่นพื้นบ้าน ในพื้นที่ชายแดนใต้ เล่าผ่านเจ้าของพื้นที่ โดยมีน้องณาดา ผู้ดำเนินรายการและเพื่อน ๆ จากชุมชนต่าง ๆ ชวนผู้ชม ไปเรียนรู้ที่มาที่ไปของการละเล่นต่าง ๆ  เด็กชายแดนใต้ เล่นอะไรกัน       น้องณาดา คือตัวแทนเด...

..อ่านต่อ
17 ก.พ. 2563

      สังคมปลายด้ามขวาน พื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ที่เป็นสังคมพหุวัฒนธรรมที่ประกอบไปด้วยไทย จีนและมลายู ยังคงมีการพึ่งพาอาศัยกันอยู่เสมอ และความแตกต่างเหล่านี้นำพาให้เกิดสิ่งที่ดี ทั้งไทย จีน และมลายู     ทุกภาษาล้วนมีความสำคัญที่จะผลักดันให้เกิดการพัฒนาทั้งธุรกิจการท่องเที่ยวและการค้าให้มีการพัฒนาเติบโต  ภาษาจีนเป็นภาษาที่คุ้นเคยกันในสังคมพหุวัฒนธรรม ทั้งในปัตตานี ยะลา และนราธิวาส หลายปีที่ผ่านมาภาษาจีนกลางได้รับความนิยมขึ้นอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากมีบทบาทต่อ...

..อ่านต่อ
17 ก.พ. 2563

      เมื่อเอ่ยถึงสามจังหวัดชายแดนใต้ ภาพส่วนใหญ่ในพื้นที่สื่อถูกจัดเต็มด้วยเหตุการณ์ความรุนแรงรายวัน หรือการแสดวงหาแนวทางการสร้างสันติภาพ จนแทบลืมไปเลยว่า วิถีชีวิตของคนในสามจังหวัดไม่ได้มีแค่นั้น โดยเฉพาะความตื่นตัวในเรื่องพื้นที่สร้างสรรค์ซึ่งสวนทางกับความรุนแรง ไม่ค่อยมีใครรู้ว่าจริง ๆ แล้วในพื้นที่สามจังหวัดมีศิลปินที่ทำงานในต่างประเทศจำนวนมาก  งานสร้างสรรค์เป็นส่วนหนึ่งของชุมชน กลุ่มคนทำงานสร้างสรรค์จำนวนหนึ่ง จึงตั้งใจที่จะสร้างพื้นที่สำหรับงานสร้างสรรค์ทุกประเภท เพื่อ...

..อ่านต่อ
หน้า 11 จาก 21 หน้า แสดง 10 จากทั้งหมด 201 รายการ