วันศุกร์ที่ 29 มีนาคม พ.ศ.2567

บทความ

6 มี.ค. 2561

      พื้นที่ภาคใต้ในอดีต ชายชาตรีมักพกกริชเป็นอาวุธประจำกาย นอกจากจะเป็นอาวุธแล้วยังเป็นสิ่งบ่งบอกฐานะทางสังคมของผู้เป็นเจ้าของ และกริชที่มีชื่อเสียงและเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่ว คือ กริชรามัน ซึ่งมีความเชื่อและตำนานเล่าขานที่เปรียบเสมือนเครื่องลางที่มีคุณค่าทางจิตใจ ตามความเชื่อทางศาสนาทั้งศาสนาอิสลาม คริสต์และพราหมณ์ฮินดู ถือเป็นอาวุธศักดิ์สิทธิ์ ในคัมภีร์อัลกุร-อ่านและคัมภีร์ไบเบิลมีการกล่าวไว้ตรงกันว่า กริชเป็นอาวุธที่ใช้ปราบมารในวันสิ้นโลก ในศาสนาพราหมณ์ฮินดู     &nb...

..อ่านต่อ
6 มี.ค. 2561

ถ้าพูดถึงมโนราห์ เราทุกคนต่างคุ้นเคยกันดีว่า มโนราห์ คือ ศิลปวัฒนธรรมการละเล่นทางภาคใต้ ภาษาถิ่นภาคใต้ เรียน มโนราห์ ตามสำเนียงถิ่นสั้นๆ ว่า โนรา ในการแสดงมโนราห์จะมีการขับร้องเป็นภาษาถิ่น และบรรเลงทำนองดนตรีด้วยเครื่องดนตรีพื้นถิ่นภาคใต้ แต่มโนราห์ของบ้านซาเมาะ ตำบลท่าธง อำเภอรามัน จ.ยะลา นั้นแตกต่างไป โดยมีจุดเด่นในรายละเอียดการใช้ภาษา ที่มีบทพูดที่ใช้ภาษายาวีหรือมลายู และภาษาถิ่นภาคใต้ควบคู่กันไป นอกจากนี้เครื่องดนตรีที่ใช้มีทั้งเครื่องดนตรีไทยและเครื่องดนตรีพื้นบ้านมลายู ได้แก่ ปี่ชวา เกิดเป...

..อ่านต่อ
6 มี.ค. 2561

      ประเพณีการกวนขนมอาซูรอเป็นประเพณีที่สำคัญของชาวมุสลิมที่ปฏิบัติสืบต่อกันมาเป็นเวลายาวนานนับพันปี ตามความเชื่อของชาวมุสลิม ประเพณีการกวนอาซูรอ เป็นการรำลึกถึงความยากลำบากของศาสดานุ นบีนูว์ โดยเชื่อว่าในสมัยของท่านมีเหตุการณ์อุทกภัยครั้งใหญ่ น้ำท่วมโลกเป็นระยะเวลานาน ศาสดานุ นบีนูว์ ซึ่งล่องลอยเรืออยู่เป็นเวลานาน  ทำให้อาหารที่ตระเตรียมไว้ร่อยหรอลง จึงได้นำส่วนที่พอจะมีเหลืออยู่เอามารวมแล้วกวนกินกัน จึงกลายเป็นตำนานที่มาของขนมอาซูรอ   และกำหนดไว้ในหลักศาสนาให้เป็นประ...

..อ่านต่อ
22 ธ.ค. 2560

      ตามหลักคำสอนของศาสนาอิสลาม ทุกคนจะต้องประพฤติตัวตามหลักคำสอนของพระเจ้า ซึ่งเปรียบเป็นเสาหลักในการดำเนินชีวิตของชาวมุสลิมทุกคน  วิธีการปลูกฝังบุตรหลานให้เข้าใจในวิถีทางของศาสนาอิสลามได้ครบถ้วน นั่นคือการอ่านคัมภีร์อัลกุรอ่าน ซึ่งในจังหวัดชายแดนภาคใต้ประชาชนส่วนใหญ่เป็นชาวมุสลิม จึงมีการปลูกฝังให้บุตรหลานของตนอ่านคัมภีร์อัลกุรอ่านตั้งแต่เด็ก ๆ       ในศาสนาอิสลาม คัมภีร์อัลกุรอ่านคือพระดำรัสของพระผู้เป็นเจ้า คือพระอัลเลาะห์ ซึ่งประทานแด่ศาสดามูฮัมหมัด ซึ่ง...

..อ่านต่อ
22 ธ.ค. 2560

      การแก้ไขปัญหาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้อย่างยั่งยืนนั้น ต้องพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนทั้งในด้านเศรษฐกิจและสังคมให้มีความเข้มแข็ง ซึ่งภาครัฐได้ใช้แนวทางการส่งเสริมให้บัณฑิตว่างงานให้กลับมาพัฒนาบ้านเกิดของตัวเอง ในโครงการ“บัณฑิตอาสา พัฒนามาตุภูมิ” ซึ่งนอกจากจะเป็นการแก้ไขปัญหาการว่างงานของบัณฑิตจบใหม่แล้ว ยังเป็นแนวทางการลดอัตราการออกไปทำงานนอกพื้นที่อีกด้วย เป็นการสร้างความเข้มแข็งให้กับหมู่บ้านและเสริมสร้างคุณภาพชีวิตประชาชน บัณฑิตอาสา พัฒนามาตุภูมิ   &...

..อ่านต่อ
22 ธ.ค. 2560

      หากจะมองหาตัวอย่างกลุ่มองค์กรภาคประชาคมที่ทำงานเพื่อสันติภาพในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้อย่างต่อเนื่อง และมีการขยายตัวอย่างมีนัยสำคัญ แน่นอนที่สุดว่าย่อมต้องมีชื่อของ สมาคมเพื่อสันติภาพชายแดนใต้ หรือกลุ่ม POSBOกลุ่มเยาวชนที่มีจุดเริ่มจากการรวมตัวกันในสถาบันการศึกษา จัดตั้งเป็นเครือข่ายในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ จนในปัจจุบันเครือข่ายมีการขยายตัวและพัฒนาสู่องค์กรที่เป็นรูปแบบขึ้นจนสามารถจดทะเบียนในรูปแบบของสมาคม หยั่งรากจากอุดมการณ์เพื่อสันติภาพ       จ...

..อ่านต่อ
22 ธ.ค. 2560

      โลกนี้มีวิชาความรู้มากมาย ไม่เพียงอยู่ในหนังสือหรือในโรงเรียน มหาวิทยาลัย หรือหมู่นักปราชญ์ราชบัณฑิต แต่ยังมีวิชาหมวดใหญ่ที่เกิดจากประสบการณ์ในวิถีชีวิตของผู้คนท้องถิ่นต่างๆ เช่นเดียวกับภาคใต้ของไทย ดินแดนคาบสมุทรด้ามขวาน ก็มีวิชาของพรานปลา ที่เรียกในภาษาถิ่นว่า “ดูหลำ”เป็นคำมาจากภาษายาวีเรียกว่า ดูสะแล หรือดูสะหลำ หรือดูหลำ มีอยู่ในพื้นที่ตั้งแต่นครศรีธรรมราชไปจนถึง สงขลา ปัตตานี และนราธิวาสถิ่นที่มีดูหลำเก่งกาจเลื่องลือมาหลายทศวรรษได้แก่ ท้องถิ่น อำเภอจะนะ จังห...

..อ่านต่อ
22 ธ.ค. 2560

      “เมืองในหมอก ดอกไม้งาม ใต้สุดสยาม เมืองงามชายแดน” คือคำขวัญของอำเภอเบตง จังหวัดยะลา ที่บ่งบอกถึงความงดงามของอำเภอใต้สุดของประเทศไทย ดินแดนที่มีความสวยงามตามธรรมชาติ และมีสถานที่ท่องเที่ยวเชิงสัญลักษณ์อยู่อย่างมากมาย และความสวยงามทางพหุวัฒนธรรมที่หากได้สัมผัสแล้วคุณจะหลงรักที่นี่มากขึ้น       ภูมิประเทศของอำเภอเบตง จังหวัดยะลา ตั้งอยู่ในหุบเขา มีลักษณะเหมือนแอ่งกระทะ ถูกโอบล้อมด้วยขุนเขาน้อยใหญ่ ทำให้มีแหล่งท่องเที่ยวตามธรรมชาติมากมาย ไม่ว่าจ...

..อ่านต่อ
22 ธ.ค. 2560

      ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประชาชนส่วนใหญ่เป็นพี่น้องชาวไทยมุสลิม แต่ในขณะเดียวกันก็ยังมีพี่น้องชาวไทยพุทธอาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก กลายเป็นที่มาของสังคมพหุวัฒนธรรมที่รวมเอาศิลปวัฒนธรรมประเพณีของทั้งสองศาสนามารวมไว้ในพื้นที่เดียวกันจนกลายเป็นเอกลักษณ์อันโดดเด่นของพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้        อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี เป็นอีกพื้นที่หนึ่งที่เป็นสังคมพหุวัฒนธรรม มีพี่น้องชาวไทยพุทธและมุสลิมอยู่ร่วมกันด้วยความรักสามัคคี มีสถานที่สวยงามและวิถีชีวิตของผู้...

..อ่านต่อ
22 ธ.ค. 2560

      “วายังกูเละ” เป็นคำเรียกที่พี่น้องชาวไทยมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้ใช้เรียกการแสดงหนังตะลุงแบบมลายู หรือวายังกูลิ ซึ่งเป็นศิลปะเล่นเงาที่เป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่นนี้เท่านั้น หนังตะลุงวายังกูเละแตกต่างจากศิลปะการแสดงอื่นๆ ตรงที่เป็นละครชาวบ้านใช้บทพากย์และเจรจามากกว่าบทร้อง เล่าเรื่องโดยการใช้ตัวละครที่เป็นรูปหนัง แกะสลักจากหนังสัตว์เป็นรูปต่างๆ แล้วมาระบายสี โดยต้องเป็นรูปสมมติ ไม่ให้เป็นรูปเหมือนจริงเพื่อไม่ให้ขัดต่อหลักศาสนา ภาษาที่ใช้เป็นภาษามลายูเพื่อให้คนในพื...

..อ่านต่อ
หน้า 18 จาก 21 หน้า แสดง 10 จากทั้งหมด 201 รายการ